Title | |||
---|---|---|---|
แนวปฏิบัติในการย้ายคณะหรือเปลี่ยนสาขาวิชาสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2562 1 89 downloads |
ระเบียบข้อบังคับ | 17/12/2019 | Download |
หลักเกณฑ์และวิธีประเมินเทียบโอนผลการเรียน ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2562 1 16 downloads |
ระเบียบข้อบังคับ | 17/12/2019 | Download |
Category: Archive
มคอ.3 / 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
(Click ชื่อวิชาที่ต้องการ)
ชีววิทยา 1 (หลักสูตร 56)
ปฏิบัติการชีววิทยา 1 (หลักสูตร 56)
ชีววิทยา 1 (หลักสูตร 61)
ปฏิบัติการชีววิทยา 1 (หลักสูตร 61)
ชีววิทยาทั่วไป
ปฎิบัติการชีววิทยาทั่วไป
นิเวศวิทยา
ปฏิบัติการนิเวศวิทยา
พฤษศาสตร์
การจัดระบบและความหลากหลายทางชีวภาพ
ปฏิบัติการการจัดระบบและความหลากหลายทางชีวภาพ
วิทยาศาสตร์ชีวภาพในสื่อ
จุลชีววิทยา
ปฏิบัติการจุลชีววิทยา
พันธุศาสตร์
ปฏิบัติการพันธุศาสตร์
สัมมนาทางชีววิทยา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางชีววิทยา
รายละเอียดโครงการ
หลักการและเหตุผล
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กำหนดให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ทำโครงงานทางชีววิทยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสำเร็จการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ การพัฒนาทักษะการนำเสนองานทางวิชาการ ตลอดจนการเปิดเวทีให้กับนักศึกษาได้มีพื้นที่สำหรับการนำเสนอผลงานวิจัยของตนเองสู่สาธารณะ สาขาวิชาชีววิทยาจึงได้จัดโครงการ “การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา” ขึ้น สำหรับปีนี้เป็นการจัดครั้งที่ 3 ซึ่งมีการเปิดโอกาสให้กับนักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาอื่นที่ใกล้เคียง จากสถาบันการศึกษาในเขตพื้นที่ภาคใต้ สามารถส่งผลงานเข้าร่วมการนำเสนอผลงานวิจัยด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ ตลอดจนเป็นการพัฒนาเครือข่ายนักศึกษาทั้งด้านวิชาการและงานวิจัยต่อไป
- เพื่อเป็นเวทีให้นักศึกษาได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีในด้านชีววิทยา
- เพื่อเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการทำวิจัยระดับ
- ผู้นำเสนองานต้องเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือเอกชน ที่ทำโครงงาน/ปัญหาพิเศษ
- ผู้สนใจทั่วไปที่สามารถเข้าร่วมประชุมโดยไม่นำเสนอผลงาน เช่น นักเรียนระดับมัธยมศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน/ปัญหาพิเศษ คณาจารย์ ฯลฯ
- นักศึกษาที่นำเสนองานวิจัยได้รับการพัฒนาทักษะและมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัย
- นักศึกษาที่เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้จากการวิจัย และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัย
- มีการสร้างเครือข่ายนักศึกษาทางชีววิทยาระหว่างสถาบัน
การเตรียมผลงาน
ผลงานที่นำเสนอ
- ต้องเป็นผลงานวิจัย โครงงาน หรือปัญหาพิเศษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว หรืออยู่ระหว่างดำเนินการ โดยต้องไม่เคยนำเสนอในการประชุมเสนอผลงานวิจัยที่ใดมาก่อน การตอบรับให้นำเสนอแบบใดขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการ
ประเภทของการนำเสนอ
- การนำเสนอแบบบรรยาย (Oral presentation) ผู้นำต้องใช้เวลาในการนำเสนอเรื่องละ 15 นาที ตอบคำถาม 4 นาที การนำเสนอให้ใช้ภาษาไทยเท่านั้น
- การนำเสนอแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) ผู้นำเสนอต้องยืนประจำที่โปสเตอร์ในเวลาที่กำหนดเพื่อตอบคำถาม
การส่งบทคัดย่อ
- เปิดรับบทคัดย่อวันที่ 3-20 กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เจ้าของผลงานจะต้องจัดทำไฟล์บทคัดย่อนามสกุล .doc หรือ .docx แล้วส่งมาทางอีเมลล์ biology.sru@gmail.com เท่านั้น โดยจะมีการแจ้งผลการพิจารณาทางเว็บไซต์ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 คำแนะนำสำหรับการเขียนบทคัดย่อ [.pdf] [.docx]
การส่งบทความฉบับสมบูรณ์
- ผู้เขียนที่ได้รับการตอบรับให้นำเสนอแบบบรรยาย จะต้องส่งบทความฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 3 มีนาคม 2557โดยจัดทำไฟล์บทความนามสกุล .doc หรือ .docx แล้วส่งมาทางอีเมลล์ biology.sru@gmail.com เท่านั้น พร้อมทั้งลงทะเบียนผู้นำเสนองานทางเว็บไซต์ภายในวันที่ 5 มีนาคม 2557
การเตรียมบทความฉบับสมบูรณ์
- บทความต้นฉบับต้องมีความยาวไม่เกิน 8 หน้า พิมพ์ด้วยภาษาไทย ใช้อักษร TH Niramit AS [ดาวน์โหลดhttp://www.f0nt.com/release/13-free-fonts-from-sipa/] คำแนะนำสำหรับการเตรียมบทความฉบับสมบูรณ์ [.docx] [.pdf]
การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
- จัดทำโปสเตอร์ขนาดกว้าง x สูง เท่ากับ 80 เซนติเมตร x 120 เซนติเมตร สามารถนำเสนอด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อหาในโปสเตอร์ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลและอภิปรายผล สรุปผล และเอกสารอ้างอิง
- เจ้าของผลงานจะต้องยืนประจำโปสเตอร์เพื่อนำเสนอผลงาน และตอบคำถามในช่วงเวลาที่กำหนดให้ โดยจะมีคณะกรรมการฯ และผู้ร่วมงานเยี่ยมชม
- กำหนดให้ติดโปสเตอร์ในวันอาทิตย์ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๗ เวลา 15.3๐ น. เป็นต้นไป หรือก่อนเวลา 8.๐๐ น. ของวันจันทร์ที่ 1๐ มีนาคม 2557 และให้เก็บโปสเตอร์ภายในจันทร์ที่ 1๐ มีนาคม 2557 หลังเวลา 16.๐๐ น.
ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยา
ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยา
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอแสดงความยินดีกับบันฑิตสาขาวิชาชีววิทยา เนื่องในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้ ประจำปี ๒๕๕๗ ณ หอประชุมวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันที่ ๘-๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗
ทั้งนี้ขอให้บัณฑิตทุกท่านติดตามรายละเอียดเกี่ยวกับ การขึ้นทะเบียนบันฑิต แนวปฏิบัติ การเตรียมตัว ขั้นตอน กำหนดการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับพิธีพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งรับชมการถ่ายทอดสดงานได้ทางเว็บไซต์
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่จัดงาน
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่
- อ.ดอกรัก ชัยสาร สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ๒๗๒ ถ.สุราษฎร์-นาสาร ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี ๘๔๑๐๐
- โทรศัพท์ ๐๗๗-๓๕๕-๖๓๖
- โทรสาร ๐๗๗-๓๕๕-๖๓๖
- e-mail : biology.sru@gmail.com
- เว็บไซต์ : http://biology.sci.sru.ac.th
- facebook : www.facebook.com/bio.sru
สถานที่จัดงาน
- ห้อง GA๑๐๒ และ GA๑๐๓ ชั้น ๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ใบขอนุญาตผู้ปกครอง
ใบขออนุญาตผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการ “ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส. ครั้งที่ 1”
ระหว่างวันที่ 7 – 9 พฤษภาคม 2557 ณ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
Attachments
ตารางการนำเสนอวิชาสัมนาชีววิทยา (Seminar in Biology) ปีการศึกษา 1/2556
ตารางการนำเสนอวิชาสัมนาชีววิทยา (Seminar in Biology) ปีการศึกษา 1/2556
Date | Theme | Title | Student | Advisor | Committee | Room | Time |
พุธ | Soil microbiology | 1. การใช้แบคทีเรียกรดแลคติคสำหรับการหมัก | 1. นางสาวจันทร์จิรา นาครอด | อ. ชวนพิศ | อ. กรณ์ | SC105 | 11.30 น. |
21 ส.ค. 56 | น้ำหมักชีวภาพ | อ. วีณา | |||||
2. การใช้จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตสำหรับน้ำหมักชีวภาพ | 2. นางสาวสินีนาฏ เพ็งประพันธ์ | อ. ชวนพิศ | อ. ดอกรัก | ||||
3. การศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ | 3. นางสาวสุดารัตน์ ร่วมพันธ์ | อ. ชวนพิศ | อ. พัชรี | ||||
และน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของพืช | อ. จีรนันท์ | ||||||
4. แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อราก่อโรคในพืช | 4. นางสาวรัชนีกร สติภา | อ. ศักดิ์ชัย | อ. ชวนพิศ | ||||
ครั้งที่ 1 | 5. แอคติโนมัยซีทยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในพืช | 5. นางสาวยุริตา สืบเหม | อ. ศักดิ์ชัย | อ. ศักดิ์ชัย | |||
จันทร์ | Antimicroorganisms | 6. การกำจัดโลหะหนักด้วยสิ่งมีชีวิต | 6. นางสาวอรอนงค์ สุกใส | อ. จาตุรนต์ | อ. นิสากร | GA702 | 11.30 น. |
26 ส.ค. 56 | (1) | 7. ฤทธิ์การยับยั้ง Xanthine oxidase ด้วยพืชสมุนไพร | 7. นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรคงอ้น | อ. จาตุรนต์ | อ. จาตุรนต์ | ||
8. การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคโดยสารสกัดจากเบญกานี | 8. นางสาววนิดา บุตดิพรรณ์ | อ. จาตุรนต์ | อ. เบญจมาศ | ||||
9. การคัดกรองสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ | 9. นางสาวศุภนางค์ มีพร้อม | อ. จาตุรนต์ | อ. ศักดิ์ชัย | ||||
ในการยับยั้งเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส | อ. ดอกรัก | ||||||
10. การวิเคราะห์สารพฤกษเคมีและ ฤทธิ์ต่อต้าน | 10. นางสาวศิริวรรณ ศรีสงคราม | อ. เบญจมาศ | อ. จาตุรนต์ | ||||
เชื้อจุลินทรีย์จากไมยราบ | |||||||
11. การตรวจสอบเบื้องต้นทางพฤกษเคมี กิจกรรม | 11. นางสาวมลิสา ด้วงเสน | อ. เบญจมาศ | |||||
ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ ความเป็นพิษต่อเซลล์ | |||||||
ครั้งที่ 2 | และสมบัติการต้านสารอนุมูลอิสระของมะยม | ||||||
พุธ | Plant tissue | 12. โครงสร้างและองค์ประกอบของสังคมพืชชายฝั่ง | 12. นางสาวซูรีซา เด็ง | อ. พลวัต | อ. กนกอร | SC105 | 11.30น. |
28 ส.ค. 56 | ที่ถูกทิ้งข้างในบริเวณลุ่มน้ำ hemlock | อ. ศักดิ์ชัย | |||||
13. โครงสร้าง และองค์ประกอบไม้ยืนต้นในป่าแบบ | 13. นางสาวซารานิง เจ๊ะตือเอ๊าะ | อ. พลวัต | อ. ไซนีย๊ะ | ||||
Varzea ที่ระดับน้ำท่วมแตกต่างกัน | อ. พลวัต | ||||||
14. ผลของการควบคุมการเจริญเติบโตและแสงต่อต้นเยอบีร่า | 14. นางสาวนอร์รีซา ปอ | อ. ไซนีย๊ะ | อ. กรณ์ | ||||
15. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการชักนำให้เกิด | 15. นางสาวนูรมา มาสากี | อ. ซนีย๊ะ | อ. ดอกรัก | ||||
การกลายพันธุ์ในกล๊อกซีเนียภายใต้สภาวะปลอดเชื้อ | |||||||
16. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกุหลาบในสภาวะปลอดเชื้อ | 16. นางสาวหัสยา จันทร์สีดำ | อ. ไซนีย๊ะ | |||||
17. การเพาะเมล็ดและการเพิ่มจำนวนยอดของกล้วยไม้ | 17. นางสาวอรอนงค์ แซ่ฮั้น | อ. ไซนีย๊ะ | |||||
ครั้งที่ 3 | รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ | ||||||
จันทร์ | Antimicroorganisms | 18. ผลการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์จากสารสกัดใบพลู | 18. นางสาววรวรรณ เปียชาติ | อ. เบญจมาศ | อ. เบญจมาศ | GA702 | 11.30น. |
2 ก.ย. 56 | (2) | 19. การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพลู | 19. นางสาวนูรฮายาตี ดาเอ๊ะ | อ. จีรนันท์ | อ. ศักดิ์ชัย | ||
ต่อการยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค | อ. ดอกรัก | ||||||
20. ระดับของสารสีในอาหารต่อการเจริญเติบโต | 20. นางสาววรรณา บรรดา | อ. วีณา | อ. วีณา | ||||
และการเร่งสีของปลาการ์ตูน | อ. จาตุรนต์ | ||||||
21. ประสิทธิภาพของโพรไบโอติกต่อระบบภูมิคุ้มกัน | 21. นางสาวซีตีมารีแย มูซอ | อ. วีณา | อ. พัชรี | ||||
และอัตรารอดในการเลี้ยงกุ้งทะเล | |||||||
22. ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้ง | 22. นางสาวโสรยา สูดี | อ. วีณา | |||||
แบคทีเรียในกุ้งทะเล | |||||||
23. ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้ง | 23. นางสาวสุไวบะห์ แนปิแน | อ. วีณา | |||||
ครั้งที่ 4 | แบคทีเรียต่อโรคในปลานิลแดง | ||||||
พุธ | Microalgal | 24. การกำจัดธาตุอาหารในน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยง | 24. นางสาวอาบีญา อาจสัน | อ. ดอกรัก | อ. ศักดิ์ชัย | SC105 | 11.30น. |
4 ก.ย. 56 | Oil Production and | สัตว์น้ำโดยใช้สาหร่ายผมนาง | อ. พัชรี | ||||
Waste water treatment | 25. การบำบัดน้ำเสียด้วยสาหร่ายพวงองุ่น | 25. นางสาวนาฏยา ศักดา | อ. ดอกรัก | อ. ดอกรัก | |||
26. การบำบัดน้ำเสียด้วยสาหร่ายเกลียวทอง | 26. นางสาวสิเรียม พรหมสวัสดิ์ | อ. ดอกรัก | อ. ชวนพิศ | ||||
27. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีแดง | 27. นางสาวมลิษา แซ่ลิ้ม | อ. พัชรี | อ. วีณา | ||||
28. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน | 28. นางสาวเอมวิกา สุธานันต์ | อ. พัชรี | อ. กรณ์ | ||||
ครั้งที่ 5 | 29. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีเขียว | 29.นางสาวปรอยฝน บุตรจร | อ. พัชรี | ||||
จันทร์ | Food biotechnology | 30. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักน้ำปลา | 30. นางสาวอัฐภรณ์ เจะสะเมาะ | อ. ชวนพิศ | อ. ศักดิ์ชัย | GA702 | 11.30น. |
9 ก.ย. 56 | 31. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักบูดู | 31. นางสาวอูลลีญา มามะ | อ. ชวนพิศ | อ. ดอกรัก | |||
32. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักปลาส้ม | 32. นางสาววาสนา จำปาทอง | อ. ชวนพิศ | อ. ชวนพิศ | ||||
33. การคัดแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซิน | 33. นางสาวแวซัยนาบ วอฮะ | อ. จีรนันท์ | อ. วีณา | ||||
34. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการหมักน้ำส้มสายชู | 34. นางสาวนูรียานี แวกาจิ | อ. จีรนันท์ | อ. จีรนันท์ | ||||
35. ศึกษาผลของสารให้ความหวาน แคลเซียม | 35. นางสาวมากลือซง มะตง | อ. จีรนันท์ | อ. พัชรี | ||||
ครั้งที่ 6 | และอินนูลินต่อคุณภาพของโยเกิร์ต | ||||||
พุธ | Behavior and | 36. การเลือกพื้นที่อาศัยและพฤติกรรมของกิ้งก่าหนาม | 36. นางสาวเสาวลักษณ์ นวลละออง | อ. กนกอร | อ. กนกอร | SC105 | 11.30น. |
11 ก.ย. 56 | Ecology | เท็กซัส (Texas Horned Lizards), (Phrynosoma cornutum) | อ. ไซนีย๊ะ | ||||
37. การศึกษาพฤติกรรม และนิเวศวิทยาของ | 37. นางสาวบุษยานารถ คีรี | อ. กนกอร | อ. พลวัต | ||||
Madagascan Leaf-nosed snake | อ. นิสากร | ||||||
38.พฤติกรรมการประยุกต์ใช้กลิ่นของงูในการป้องกันตัว | 38. นางสาวสัญพิชา มหานิล | อ. กนกอร | อ. กรณ์ | ||||
จากผู้ล่าที่พบในกระรอกดิน (Spermophilus spp.) | อ. ดอกรัก | ||||||
39. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของนกปรอดหัวโขน | 39. นางสาวกิตติมา นวลแก้ว | อ. กนกอร | อ. ศักดิ์ชัย | ||||
(Pycnonotus jocosus) | |||||||
ครั้งที่ 7 | 40. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายไส้ไก่ | 40. นางสาวชาวดี เสียงหวาน | อ. ดอกรัก | ||||
จันทร์ | Biocontrol | 41. ผลของสารสกัดจากพืชในการควบคุมหนอนใยผัก | 41. นางสาวอุมาพร สำเภาทอง | อ. นิสากร | อ. กนกอร | GA702 | 11.30น. |
16 ก.ย. 56 | 42. ผลของสารสกัดจากสมุนไพรในการควบคุมหนอน | 42. นางสาวซีตีฮาหยา ยีมิ่ง | อ. นิสากร | อ. ไซนีย๊ะ | |||
กระทู้ผัก (Spodoptera litula (f.) ) | อ. เบญจมาศ | ||||||
43. ประโยชน์ของสารสกัดสะเดา | 43. นางสาว ณัติมา ขำเกิด | อ. นิสากร | อ. พลวัต | ||||
44. ประโยชน์ของสารสกัดจากหางไหล | 44. นางสาวปัทมวรรณ ปานเพชร | อ. นิสากร | อ. นิสากร | ||||
45. แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อก่อโรคในปลา | 45. นางสาวผกาทิพย์ สองหลง | อ. ศักดิ์ชัย | อ. ดอกรัก | ||||
46. แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อก่อโรคในหมึก | 46. นางสาวยูรีดา หวังกูหลำ | อ. ศักดิ์ชัย | อ. ศักดิ์ชัย | ||||
ครั้งที่ 8 | อ. จาตุรนต์ |
กำหนดการนำเสนอการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
กำหนดการนำเสนอการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ลำดับการนำเสนอ |
ชื่อนักศึกษา |
หน่วยงานที่ฝึก |
1 | นางสาวยุริตา สืบเหม | ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง |
นางสาวรัชนีกร สติภา | ||
2 | นางสาวซีตีฮาหยา ยีมิ่ง | ภาคชีววิทยาและพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
นางสาวณัติมา ขำเกิด | ||
3 | นางสาวอรอนงค์ แซ่ฮั้น | ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์ |
นางสาวนูรมา มาสากี | ||
4 | นางสาวซารานิง เจ๊ะตือเง๊าะ | สำนักงานวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืชกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช |
นางสาวซูรีซา เด็ง | ||
5 | นางสาววาสนา จำปาทอง | ภาควิชาพืชศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ |
6 | นางสาวจันทร์จิรา นาครอด | มหาวิทยาลัยทักษิณ |
นางสาวสุดารัตน์ ร่วมพันธ์ | ||
นางสาวสินีนาฏ เพ็งประพันธ์ | ||
7 | นางสาวหัสยา จันทร์สีดำ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ |
นางสาวนอร์รีซา ปอ | ||
8 | นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรคงอ้น | สถานวิจัยยาสมุนไพรและเทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชกรรม |
นางสาวอรอนงค์ สุกใส | ||
9 | นางสาวเอมวิกา สุธานันต์ | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย |
นางสาวมลิษา แซ่ลิ้ม | ||
นางสาวปรอยฝน บุตรจร | ||
10 | นางสาวมลิสา ด้วงเสน | ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา |
11 | นางสาวนูรียานี แวกาจิ | ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภูเก็ต |
นางสาวแวซัยนาบ วอฮะ | ||
นางสาวอัฐภรณ์ เจะสะเมาะ | ||
12 | นางสาวศุภนางค์ มีพร้อม | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย |
นางสาววนิดา บุตดิพรรณ์ | ||
13 | นางสาวอูลลีญา มามะ | ห้องปฏิบัติการกลางสงขลา |
14 | นางสาวมากลือซง มะตง | ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี |
นางสาวนูรฮายาตี ดาเอ๊ะ | ||
15 | นางสาววรวรรณ เปียชาติ | ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง |
นางสาวศิริวรรณ ศรีสงคราม | ||
16 | นางสาวชาวดี เสียงหวาน | สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา |
17 | นางสาวอาบีญา อาจสัน | ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต |
18 | นางสาวสิเรียม พรหมสวัสดิ์ | ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งกระบี่ |
นางสาววรรณา บรรดา | ||
19 | นางสาวนาฏยา ศักดา | สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง |
20 | นางสาวยูรีดา หวังกูหลำ | สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำจืด |
นางสาวผกาทิพย์ สองหลง | ||
21 | นางสาวโสรยา สูดี | ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง นราธิวาส |
นางสาวสุไวบะห์ แนปิแน | ||
22 | นางสาวซีตีมารีแย มูซอ | สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา |
23 | นางสาวเสาวลักษณ์ นวลละออง | สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ |
นางสาวบุษยานารถ คีรี | ||
24 | นางสาวอุมาพร สำเภาทอง | ศูนย์บริหารศัตรูพืชสุราษฏร์ธานี |
นางสาวปัทมวรรณ ปานเพชร | ||
25 | นายสัญพิชา มหานิล | กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่ากรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช |
นางสาวกิตติมา นวลแก้ว |
* เริ่มลงทะเบียนตั้งแต่ 8:00-8:20 น. เริ่มนำเสนอตั้งแต่ 8:30 น.
โดยลำดับที่ 1-15 ให้นำเสนอในวันที่ 16 ก.ค. 57 และ 16- 25 ให้นำเสนอในวันที่ 17 ก.ค. 57
สาขาวิชาชีววิทยาจัดประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 (The 3rdUndergraduate Research Conference on Biology; URCB2014) ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาชีววิทยาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้มีเวทีการนำเสนอผลงานวิชาการ ตลอดจนเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัยระหว่างนักศึกษากับคณาจารย์
โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นประธานกล่าวเปิดงาน ในงานมีกิจกรรมทางวิชาการที่สำคัญคือการบรรยายพิเศษหัวข้อ “ชีวสารสนเทศและเทคนิคทางโมเลกุลสำหรับการพัฒนาวัคซีนโรคเลปโตสไปโรซีส” โดย อ.ดร.ศุภชัย นิติพันธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ตลอดจนการนำเสนอผลงานวิจัยหรือโครงงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งจากภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และจากมหาวิทยาลัยอื่นในเขตภาคใต้ ในแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์
สาขาวิชาชีววิทยาจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4
สาขาวิชาชีววิทยาจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาชีววิทยา ก่อนการสำเร็จการศึกษา ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นการเสริมสร้างความเข้าใจ และให้ความรู้แก่นักศึกษา ตลอดจนการเตรียมตัวสำหรับการออกไปสู่การทำงาน
กำหนดการนำเสนอแบบบรรยาย
กำหนดการนำเสนอแบบบรรยาย
กำหนดการนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ 3 ณ ห้อง GA102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี วันที่ 10 มีนาคม 2557 | ||||
ที่ | เวลา | เรื่อง | ผู้นำเสนอ | สถาบัน |
1 | 10.20 น. | สถานภาพของสัตว์ป่าในเส้นทางศึกษาธรรมชาติบางหมาน – ถ้ำลูกน้ำ – ทุ่งไข่ห่าน อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สายสนิท พงศ์สุวรรณ และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
2 | 10.40 น. | ผลของอาหารและชิ้นส่วนพืชในการชักนำให้เกิดแคลลัสและยอดของทุเรียนเทศ | อรอุษา อินวรรณะ และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
3 | 11.00 น. | คุณสมบัติทางเคมีของข้าวพื้นเมืองภาคใต้พันธุ์ดอกพะยอม | นูรีย๊ะ มิยะ และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
4 | 11.20 น. | ผลของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ Xanthine oxidase ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเกาต์ (gout) |
ปรียานุช เอียดสี และจาตุรนต์ ทิพย์วงศ์ |
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี |
5 | 11.40 น. | การคัดแยกราเอนโดไฟต์ที่มีผลต่อการยับยั้งเชื้อก่อโรคพืชบางชนิดจากผักกูด ผักเหมียง และผักหวานบ้าน | ชัยชนะ คงณรงค์ และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
12.00 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน | |||
6 | 13.00 น. | ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของกาวยางธรรมชาติอีพอกไซด์ | ศรวิตรี สังข์แก้ว และคณะ | สาขาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช |
7 | 13.20 น. | ความหลากหลายของไส้เดือนทะเลตำบลท่าทองใหม่ และตำบลตะเคียนทอง เขตอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | กัลยาณี ศรีสุข และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี |
8 | 13.40 น. | การบำบัดตะกั่วและแคดเมียมจากมลพิษทางอากาศโดยใช้ต้นเคราฤาษี (Tillandsis usenoides L.) | ณัฐกานต์ รอคคืน และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
9 | 14.00 น. | การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวหอมไชยา |
กาญจนา ทองมา และคณะ |
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
10 | 14.20 น. | การวิเคราะห์พฤกษเภสัชวิทยาของสารประกอบฟีโนลิกส์รวม และสารต้านอนุมูลอิสระของกาแฟเขียวและใบชาเขียว เพื่อใช้ในเวชสำอาง |
กนกวรรณ เทียมยม และคณะ |
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
11 | 14.40 น. | ชนิดและการตายโดยอุบัติเหตุ (Road kill) ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | กรรณิการ์ กระบิล และคณะ | สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
12 | 15.00 น. | การศึกษาภูมิปัญญาการรักษาโรคผิวหนังของหมอพื้นบ้านในจังหวัดนครศรีธรรมราช | อรุณกมล สุวรรณสิงห์ และคณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
13 | 15.20 น. | การแยกองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากรากของต้นราชดัด | อมรรัตน์ มีดำ และปรินุช ชุมแก้ว | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี |
ขอเชิญนักเรียนเข้าร่วมโครงการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อนครั้งที่ 1
ขอเชิญ นักเรียนเข้าร่วมโครงการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อนครั้งที่ 1
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอเชิญน้องๆ นักเรียนที่กำลังเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมโครงการ “ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส.” (SRU Bio Summer Camp) ครั้งที่ 1 ตอน “ขุนเขาและธารา” ระหว่างวันที่ 7-9 พฤษภาคม 2557 ณสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พบกับกิจกรรมแสนสนุกที่สอดแทรกด้วยความรู้และเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต การจัดระบบสิ่งมีชีวิต ตลอดจนกิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติ ฯลฯ รับจำนวนจำกัดเพียง 40 คนเท่านั้น โดยต้องเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เรียนสายวิทย์ฯ หรือสายศิลป์ฯ และที่สำคัญขอแค่มีใจรักสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติก็เข้าร่วมค่ายได้ สนใจติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://biology.sci.sru.ac.th/sru-bio-summer-camp/camp-2014/ หรือเพจ facebook.com/SruBioSummerCamp
- รับสมัครออนไลน์ทางเว็บไซต์ระหว่างวันที่ 1-20 เมษายน 2557
- ประกาศผลการคัดเลือกวันที่ 25เมษายน 2557
- พิเศษ !! ฟรีค่าใช้จ่ายทุกรายการ สมัครด่วนรับจำนวนจำกัด
ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี
ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอเชิญนิสิต นักศึกษา และอาจารย์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ ๓ ประจำปี 2557 (The 3rd Undergraduate Research Conference on Biology : URCB 2014) ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2557 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 8๐ พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
โดยโครงการดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อเป็นเวทีให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้นำเสนอผลงานวิจัย ปัญหาพิเศษ หรือโครงงาน และเป็นการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการวิจัยระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการวิจัย
ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://biology.sci.sru.ac.th/urcb/urcb-2014/ พิเศษสำหรับนักศึกษาทุกสถาบันฟรีค่าลงทะเบียน
ขอเชิญเข้าร่วมฟังการสอบโครงงานทางชีววิทยา
ขอเชิญ เข้าร่วมฟังการสอบโครงงานทางชีววิทยาฃ
ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมฟังการสอบโครงงานทางชีววิทยาของนักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา ชั้นปีที่ 4 ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ณ ห้อง sc 101 ชั้น 1 อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่เวลา ๐9.๐๐-16.๐๐ น. ในวันที่ 9, 16, 23 และ 3๐ มกราคม 2557
นักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา ชั้นปีที่ 3 ศึกษาดูงาน
นักศึกษา สาขาวิชาชีววิทยา ชั้นปีที่ 3 ศึกษาดูงาน
นักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา ชั้นปีที่ 3 ศึกษาดูงาน บ.วิจิตรภัณฑ์ปาล์มออยล์ จำกัด อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งประจวบคีรีขันธ์ และโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ระหว่างวันที่ 16-18 ธันวาคม 2556
กำหนดการรับสมัครนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2557
กำหนดการรับสมัครนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2557
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกษา 2557
รับตรง
สมัครออนไลน์ผ่านเว็ปไซต์ (http://regis.sru.ac.th/cotra57/)
กลุ่มภาคีมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้
จำหน่ายเอกสารวันที่ 21 มกราคม – 21 มีนาคม 2557 และเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 17-21 มีนาคม 2557
อาจารย์สาขาวิชาชีววิทยาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
อาจารย์สาขาวิชาชีววิทยาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ ดร.ชลินดา อริยเดช อาจารย์ประจำสาขาวิชาชีววิทยา เนื่องในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแแหน่งทางวิชาการ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์”
โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลินดา อริยเดช สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนชีววิทยา (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาชีววิทยา (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)
สาขาวิชาชีววิทยาร่วมจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สาขาวิชา ชีววิทยาร่วมจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ร่วมจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (ส่วนภูมิภาค) ประจำปี 2556 ระหว่างวันที่ 18-20 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา ณ บริเวณอาคารทีปังกรรัศมีโชติ ภายใต้หัวข้อ “มรส. ทันโลก ทันวิทย์ จุดประกายความคิดสู่อาเซียน”
โดยนักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยาชั้นปีที่ 1-4 ได้ร่วมจัดกิจกรรมนิทรรศการทางวิชาการใน 4 หัวข้อหลักได้แก่ การกำจัดและควบคุมปริมาณไนโตรเจนในระบบเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหมุนเวียน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ท้องถิ่นหายาก ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรขมิ้นชัน และผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ เช่น ไวน์ ซาลาเปา เป็นต้น โดยมีผู้สนใจได้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปเข้าชมนิทรรศการจำนวนมาก