กำหนดการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน

กำหนดการ

กำหนดการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส. ครั้งที่ 1

วันที่ 7 – 9 พฤษภาคม 2557

ณ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น

โดยสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

7 พฤษภาคม 2557
06.30-07.๐๐ น. รายงานตัว ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
07.๐๐-08.๐๐ น. ออกเดินทางไปอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานี
08.00-08.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
08.30-09.00 น. พิธีเปิดโครงการ ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส. ครั้งที่ ๑ ตอน “ขุนเขาและธารา” ณ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น โดย นายพิเชษฐ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
09.00-10.00 น.

แนะนำสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แนะนำค่าย กฎระเบียบของค่าย แนะนำพี่ทีมงาน และทำแบบทดสอบก่อนการทำกิจกรรม โดย อาจารย์ดอกรัก ชัยสาร

10.00-11.00 น. กิจกรรม “ความคาดหวัง” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
11.00-12.00 น. บรรยายเรื่อง “อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น” โดย นายพิเชษฐ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00 น. กิจกรรม “กลุ่มสัมพันธ์” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
14.00-15.00 น. บรรยายเรื่อง “ความหลากหลายทางชีวภาพของจังหวัดสุราษฎร์ธานี” โดย อาจารย์ดอกรัก ชัยสาร
15.00-17.00 น. กิจกรรม “นักสืบสายลม” โดย อาจารย์ดอกรัก ชัยสาร
17.00-18.00 น. จัดเตรียมและเข้าที่พัก
18.00-19.30 น. รับประทานอาหารเย็น และกิจส่วนตัว
19.30-20.30 น.

บรรยายเรื่อง “ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์”

โดย อาจารย์กนกอร ทองใหญ่

20.30-21.30 น. กิจกรรม “สันทนาการ” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
21.30 น. เป็นต้นไป เข้านอน
8 พฤษภาคม 2557
16.00-06.30 น. ออกกำลังกาย
06.30-08.00 น. กิจกรรม “ดูนก” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
08.00-09.00 น. รับประทานอาหารเช้า และกิจส่วนตัว
09.00-11.00 น. กิจกรรม “Work rally” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
11.00-12.00 น. กิจกรรม “ต้นไม้เพื่อนรัก” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-17.00 น.

กิจกรรม “เดินป่าศึกษาธรรมชาติน้ำตกดาดฟ้า ถึงชั้น 8” และ

กิจกรรม “กวางน้อย” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น

17.00-18.30 น. รับประทานอาหารเย็น และกิจส่วนตัว
18.30-21.30 น. กิจกรรม “รับขวัญรอบกองไฟ และสันทนาการ” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
21.30 น. เป็นต้นไป เข้านอน
๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
06.00-08.00 น. กิจกรรม “ดูนก” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
08.00-09.00 น. รับประทานอาหารเช้า และกิจส่วนตัว
09.00-11.00 น. กิจกรรม “นักสืบสายน้ำ” โดยอาจารย์จีรนันท์ กล่อมนรา
11.00-12.00 น. กิจกรรม “บำเพ็ญประโยชน์ปลูกต้นไม้” โดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
12.00-13.00 น. รับทานอาหารกลางวัน
13.00-16.00 น. กิจกรรม “สรุปความรู้และนำเสนอรายกลุ่ม” โดยดอกรัก ชัยสาร
16.00-17.00 น.

ทำแบบทดสอบหลังการทำกิจกรรม

พิธีปิดโครงการ ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส. ครั้งที่ 1 ตอน “ขุนเขาและธารา” และมอบเกียรติบัตร ณ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น

17.00-18.00 น. เดินทางกลับถึงมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

หมายเหตุ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

รายละเอียดโครงการ

หลักการและเหตุผล

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กำหนดให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ทำโครงงานทางชีววิทยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสำเร็จการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ การพัฒนาทักษะการนำเสนองานทางวิชาการ ตลอดจนการเปิดเวทีให้กับนักศึกษาได้มีพื้นที่สำหรับการนำเสนอผลงานวิจัยของตนเองสู่สาธารณะ สาขาวิชาชีววิทยาจึงได้จัดโครงการ “การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา” ขึ้น สำหรับปีนี้เป็นการจัดครั้งที่ 3 ซึ่งมีการเปิดโอกาสให้กับนักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาอื่นที่ใกล้เคียง จากสถาบันการศึกษาในเขตพื้นที่ภาคใต้ สามารถส่งผลงานเข้าร่วมการนำเสนอผลงานวิจัยด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ ตลอดจนเป็นการพัฒนาเครือข่ายนักศึกษาทั้งด้านวิชาการและงานวิจัยต่อไป

วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเป็นเวทีให้นักศึกษาได้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีในด้านชีววิทยา
  2. เพื่อเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการทำวิจัยระดับ
ปริญญาตรี ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
กลุ่มเป้าหมาย
  1. ผู้นำเสนองานต้องเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือเอกชน ที่ทำโครงงาน/ปัญหาพิเศษ
  2. ผู้สนใจทั่วไปที่สามารถเข้าร่วมประชุมโดยไม่นำเสนอผลงาน เช่น นักเรียนระดับมัธยมศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน/ปัญหาพิเศษ  คณาจารย์ ฯลฯ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักศึกษาที่นำเสนองานวิจัยได้รับการพัฒนาทักษะและมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัย
  2. นักศึกษาที่เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้จากการวิจัย และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัย
  3. มีการสร้างเครือข่ายนักศึกษาทางชีววิทยาระหว่างสถาบัน

การเตรียมผลงาน

ผลงานที่นำเสนอ

  • ต้องเป็นผลงานวิจัย โครงงาน หรือปัญหาพิเศษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว หรืออยู่ระหว่างดำเนินการ โดยต้องไม่เคยนำเสนอในการประชุมเสนอผลงานวิจัยที่ใดมาก่อน การตอบรับให้นำเสนอแบบใดขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการ

ประเภทของการนำเสนอ

  1. การนำเสนอแบบบรรยาย (Oral presentation) ผู้นำต้องใช้เวลาในการนำเสนอเรื่องละ 15 นาที ตอบคำถาม 4 นาที การนำเสนอให้ใช้ภาษาไทยเท่านั้น
  2. การนำเสนอแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) ผู้นำเสนอต้องยืนประจำที่โปสเตอร์ในเวลาที่กำหนดเพื่อตอบคำถาม

การส่งบทคัดย่อ

  • เปิดรับบทคัดย่อวันที่ 3-20 กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เจ้าของผลงานจะต้องจัดทำไฟล์บทคัดย่อนามสกุล .doc หรือ .docx แล้วส่งมาทางอีเมลล์ biology.sru@gmail.com เท่านั้น โดยจะมีการแจ้งผลการพิจารณาทางเว็บไซต์ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 คำแนะนำสำหรับการเขียนบทคัดย่อ [.pdf] [.docx]

การส่งบทความฉบับสมบูรณ์

  • ผู้เขียนที่ได้รับการตอบรับให้นำเสนอแบบบรรยาย จะต้องส่งบทความฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 3 มีนาคม 2557โดยจัดทำไฟล์บทความนามสกุล .doc หรือ .docx แล้วส่งมาทางอีเมลล์ biology.sru@gmail.com เท่านั้น พร้อมทั้งลงทะเบียนผู้นำเสนองานทางเว็บไซต์ภายในวันที่ 5 มีนาคม 2557

การเตรียมบทความฉบับสมบูรณ์

  • บทความต้นฉบับต้องมีความยาวไม่เกิน 8 หน้า พิมพ์ด้วยภาษาไทย ใช้อักษร TH Niramit AS [ดาวน์โหลดhttp://www.f0nt.com/release/13-free-fonts-from-sipa/] คำแนะนำสำหรับการเตรียมบทความฉบับสมบูรณ์ [.docx] [.pdf]

การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์

  • จัดทำโปสเตอร์ขนาดกว้าง x สูง เท่ากับ 80  เซนติเมตร x 120 เซนติเมตร สามารถนำเสนอด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อหาในโปสเตอร์ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลและอภิปรายผล สรุปผล และเอกสารอ้างอิง
  • เจ้าของผลงานจะต้องยืนประจำโปสเตอร์เพื่อนำเสนอผลงาน และตอบคำถามในช่วงเวลาที่กำหนดให้ โดยจะมีคณะกรรมการฯ และผู้ร่วมงานเยี่ยมชม
  • กำหนดให้ติดโปสเตอร์ในวันอาทิตย์ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๗ เวลา 15.3๐ น. เป็นต้นไป หรือก่อนเวลา 8.๐๐ น. ของวันจันทร์ที่ 1๐ มีนาคม 2557 และให้เก็บโปสเตอร์ภายในจันทร์ที่ 1๐ มีนาคม 2557 หลังเวลา 16.๐๐ น.

ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยา

ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยา

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอแสดงความยินดีกับบันฑิตสาขาวิชาชีววิทยา เนื่องในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้ ประจำปี ๒๕๕๗ ณ หอประชุมวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันที่ ๘-๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗

ทั้งนี้ขอให้บัณฑิตทุกท่านติดตามรายละเอียดเกี่ยวกับ การขึ้นทะเบียนบันฑิต แนวปฏิบัติ การเตรียมตัว ขั้นตอน กำหนดการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับพิธีพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งรับชมการถ่ายทอดสดงานได้ทางเว็บไซต์

ตารางการนำเสนอวิชาสัมนาชีววิทยา (Seminar in Biology) ปีการศึกษา 1/2556

ตารางการนำเสนอวิชาสัมนาชีววิทยา (Seminar in Biology) ปีการศึกษา 1/2556

Date Theme Title Student Advisor Committee Room Time
พุธ Soil microbiology 1. การใช้แบคทีเรียกรดแลคติคสำหรับการหมัก 1. นางสาวจันทร์จิรา นาครอด อ. ชวนพิศ อ. กรณ์ SC105 11.30 น.
21 ส.ค. 56 น้ำหมักชีวภาพ อ. วีณา
2. การใช้จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตสำหรับน้ำหมักชีวภาพ 2. นางสาวสินีนาฏ เพ็งประพันธ์ อ. ชวนพิศ อ. ดอกรัก
3. การศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ 3. นางสาวสุดารัตน์ ร่วมพันธ์ อ. ชวนพิศ อ. พัชรี
และน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของพืช อ. จีรนันท์
4. แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อราก่อโรคในพืช 4. นางสาวรัชนีกร สติภา อ. ศักดิ์ชัย อ. ชวนพิศ
ครั้งที่ 1 5. แอคติโนมัยซีทยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในพืช 5. นางสาวยุริตา สืบเหม อ. ศักดิ์ชัย อ. ศักดิ์ชัย
จันทร์ Antimicroorganisms 6. การกำจัดโลหะหนักด้วยสิ่งมีชีวิต 6. นางสาวอรอนงค์ สุกใส อ. จาตุรนต์ อ. นิสากร GA702 11.30 น.
26 ส.ค. 56 (1) 7. ฤทธิ์การยับยั้ง Xanthine oxidase ด้วยพืชสมุนไพร 7. นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรคงอ้น อ. จาตุรนต์ อ. จาตุรนต์
8. การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคโดยสารสกัดจากเบญกานี 8. นางสาววนิดา บุตดิพรรณ์ อ. จาตุรนต์ อ. เบญจมาศ
9. การคัดกรองสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ 9. นางสาวศุภนางค์ มีพร้อม อ. จาตุรนต์ อ. ศักดิ์ชัย
ในการยับยั้งเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส อ. ดอกรัก
10. การวิเคราะห์สารพฤกษเคมีและ ฤทธิ์ต่อต้าน 10. นางสาวศิริวรรณ ศรีสงคราม อ. เบญจมาศ อ. จาตุรนต์
เชื้อจุลินทรีย์จากไมยราบ
11. การตรวจสอบเบื้องต้นทางพฤกษเคมี กิจกรรม 11. นางสาวมลิสา ด้วงเสน อ. เบญจมาศ
ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ ความเป็นพิษต่อเซลล์
ครั้งที่ 2 และสมบัติการต้านสารอนุมูลอิสระของมะยม
พุธ Plant tissue 12. โครงสร้างและองค์ประกอบของสังคมพืชชายฝั่ง 12. นางสาวซูรีซา เด็ง อ. พลวัต อ. กนกอร SC105 11.30น.
28 ส.ค. 56 ที่ถูกทิ้งข้างในบริเวณลุ่มน้ำ hemlock อ. ศักดิ์ชัย
13. โครงสร้าง และองค์ประกอบไม้ยืนต้นในป่าแบบ 13. นางสาวซารานิง เจ๊ะตือเอ๊าะ อ. พลวัต อ. ไซนีย๊ะ
Varzea ที่ระดับน้ำท่วมแตกต่างกัน อ. พลวัต
14. ผลของการควบคุมการเจริญเติบโตและแสงต่อต้นเยอบีร่า 14. นางสาวนอร์รีซา ปอ อ. ไซนีย๊ะ อ. กรณ์
15. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการชักนำให้เกิด 15. นางสาวนูรมา มาสากี อ. ซนีย๊ะ อ. ดอกรัก
การกลายพันธุ์ในกล๊อกซีเนียภายใต้สภาวะปลอดเชื้อ
16. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกุหลาบในสภาวะปลอดเชื้อ 16. นางสาวหัสยา จันทร์สีดำ อ. ไซนีย๊ะ
17. การเพาะเมล็ดและการเพิ่มจำนวนยอดของกล้วยไม้ 17. นางสาวอรอนงค์ แซ่ฮั้น อ. ไซนีย๊ะ
ครั้งที่ 3 รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ
จันทร์ Antimicroorganisms 18. ผลการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์จากสารสกัดใบพลู 18. นางสาววรวรรณ เปียชาติ อ. เบญจมาศ อ. เบญจมาศ GA702 11.30น.
2 ก.ย. 56 (2) 19. การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดใบพลู 19. นางสาวนูรฮายาตี ดาเอ๊ะ อ. จีรนันท์ อ. ศักดิ์ชัย
ต่อการยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค อ. ดอกรัก
20. ระดับของสารสีในอาหารต่อการเจริญเติบโต 20. นางสาววรรณา บรรดา อ. วีณา อ. วีณา
และการเร่งสีของปลาการ์ตูน อ. จาตุรนต์
21. ประสิทธิภาพของโพรไบโอติกต่อระบบภูมิคุ้มกัน 21. นางสาวซีตีมารีแย มูซอ อ. วีณา อ. พัชรี
และอัตรารอดในการเลี้ยงกุ้งทะเล
22. ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้ง 22. นางสาวโสรยา สูดี อ. วีณา
แบคทีเรียในกุ้งทะเล
23. ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้ง 23. นางสาวสุไวบะห์ แนปิแน อ. วีณา
ครั้งที่ 4 แบคทีเรียต่อโรคในปลานิลแดง
พุธ Microalgal 24. การกำจัดธาตุอาหารในน้ำเสียจากการเพาะเลี้ยง 24. นางสาวอาบีญา อาจสัน อ. ดอกรัก อ. ศักดิ์ชัย SC105 11.30น.
4 ก.ย. 56 Oil Production and สัตว์น้ำโดยใช้สาหร่ายผมนาง อ. พัชรี
Waste water treatment 25. การบำบัดน้ำเสียด้วยสาหร่ายพวงองุ่น 25. นางสาวนาฏยา ศักดา อ. ดอกรัก อ. ดอกรัก
26. การบำบัดน้ำเสียด้วยสาหร่ายเกลียวทอง 26. นางสาวสิเรียม พรหมสวัสดิ์ อ. ดอกรัก อ. ชวนพิศ
27. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีแดง 27. นางสาวมลิษา แซ่ลิ้ม อ. พัชรี อ. วีณา
28. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน 28. นางสาวเอมวิกา สุธานันต์ อ. พัชรี อ. กรณ์
ครั้งที่ 5 29. การผลิตน้ำมันจากสาหร่ายสีเขียว 29.นางสาวปรอยฝน บุตรจร อ. พัชรี
จันทร์ Food biotechnology 30. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักน้ำปลา 30. นางสาวอัฐภรณ์ เจะสะเมาะ อ. ชวนพิศ อ. ศักดิ์ชัย GA702 11.30น.
9 ก.ย. 56 31. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักบูดู 31. นางสาวอูลลีญา มามะ อ. ชวนพิศ อ. ดอกรัก
32. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์สำหรับการหมักปลาส้ม 32. นางสาววาสนา จำปาทอง อ. ชวนพิศ อ. ชวนพิศ
33. การคัดแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซิน 33. นางสาวแวซัยนาบ วอฮะ อ. จีรนันท์ อ. วีณา
34. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการหมักน้ำส้มสายชู 34. นางสาวนูรียานี แวกาจิ อ. จีรนันท์ อ. จีรนันท์
35. ศึกษาผลของสารให้ความหวาน แคลเซียม 35. นางสาวมากลือซง มะตง อ. จีรนันท์ อ. พัชรี
ครั้งที่ 6 และอินนูลินต่อคุณภาพของโยเกิร์ต
พุธ Behavior and 36. การเลือกพื้นที่อาศัยและพฤติกรรมของกิ้งก่าหนาม 36. นางสาวเสาวลักษณ์ นวลละออง อ. กนกอร อ. กนกอร SC105 11.30น.
11 ก.ย. 56 Ecology เท็กซัส (Texas Horned Lizards), (Phrynosoma cornutum) อ. ไซนีย๊ะ
37. การศึกษาพฤติกรรม และนิเวศวิทยาของ 37. นางสาวบุษยานารถ คีรี อ. กนกอร อ. พลวัต
Madagascan Leaf-nosed snake อ. นิสากร
38.พฤติกรรมการประยุกต์ใช้กลิ่นของงูในการป้องกันตัว 38. นางสาวสัญพิชา มหานิล อ. กนกอร อ. กรณ์
จากผู้ล่าที่พบในกระรอกดิน (Spermophilus spp.) อ. ดอกรัก
39. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของนกปรอดหัวโขน 39. นางสาวกิตติมา นวลแก้ว อ. กนกอร อ. ศักดิ์ชัย
(Pycnonotus jocosus)
ครั้งที่ 7 40. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายไส้ไก่ 40. นางสาวชาวดี เสียงหวาน อ. ดอกรัก
จันทร์ Biocontrol 41. ผลของสารสกัดจากพืชในการควบคุมหนอนใยผัก 41. นางสาวอุมาพร สำเภาทอง อ. นิสากร อ. กนกอร GA702 11.30น.
16 ก.ย. 56 42. ผลของสารสกัดจากสมุนไพรในการควบคุมหนอน 42. นางสาวซีตีฮาหยา ยีมิ่ง อ. นิสากร อ. ไซนีย๊ะ
กระทู้ผัก (Spodoptera litula (f.) ) อ. เบญจมาศ
43. ประโยชน์ของสารสกัดสะเดา 43. นางสาว ณัติมา ขำเกิด อ. นิสากร อ. พลวัต
44. ประโยชน์ของสารสกัดจากหางไหล 44. นางสาวปัทมวรรณ ปานเพชร อ. นิสากร อ. นิสากร
45. แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อก่อโรคในปลา 45. นางสาวผกาทิพย์ สองหลง อ. ศักดิ์ชัย อ. ดอกรัก
46.  แอคติโนมัยซีทยับยั้งเชื้อก่อโรคในหมึก 46. นางสาวยูรีดา หวังกูหลำ อ. ศักดิ์ชัย อ. ศักดิ์ชัย
ครั้งที่ 8 อ. จาตุรนต์

 

องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการวิจัย

องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการวิจัย

องค์ประกอบของข้อเสนอโครงงานจะต้องประกอบไปด้วยส่วนประกอบดังนี้

1 หน้าปก

หน้าปกข้อเสนอโครงงานทางชีววิทยาจะต้องประกอบไปด้วย ชื่อโครงการ ชื่อปริญญา ชื่อผู้วิจัย คณะกรรมการที่ปรึกษา

2 เนื้อหา

เนื้อหาของข้อเสนอโครงงานทางชีววิทยาจะต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

 บทที่ 1 บทนำ : ประกอบด้วย

1.1 ที่มาและความสำคัญ เป็นส่วนที่อธิบายถึงปัญหาและเหตุผลที่ต้องทำการวิจัย โดยเน้นถึงความสำคัญของปัญหาในสวนนี้ควรมีการอ้างอิงเอกสาร

1.2 วัตถุประสงค์ เป็นสวนที่อธิบายถึงจุดมุ่งหมายของการวิจัยที่ชัดเจนและมีขอบเขตที่แน่นอน ในกรณีที่มีวัตถุประสงค์หลายข้อ ควรแยกเป็นข้อๆ อย่างชัดเจน

1.3 ขอบเขตการวิจัย ต้องมีการกำหนดขอบเขตการวิจัยที่แน่นอนเพื่อให้ครอบคลุมปัญหาและวัตถุประสงค์

1.4 สถานที่และระยะเวลาการทำวิจัย สถานที่ เป็นส่วนที่บอก ให้ทราบถึงสถานที่ที่ทำการ วิจัย เช่น บริเวณเก็บตัวอย่าง และห้องปฏิบัติการ ส่วนระยะเวลาการทำวิจัย เป็นการกำหนดเวลาที่คาดว่าจะเริ่มต้นและสิ้นสุดการวิจัยรวมถึงระยะเวลาทั้งหมด

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร : เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาที่จะทำการวิจัย มีการอ้างอิงเอกสารที่เกี่ยวข้อง

 บทที่ 3 วิธีการศึกษา : ประกอบด้วย

3.1 วัสดุอุปกรณ์ เป็นส่วนของวัสดุและอุปกรณ์เฉพาะที่สำคัญและจำเป็น สำหรับการวิจัยในบางกรณีอาจมีการอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของอุปกรณ์นั้นด้วย

3.2 สารเคมี เป็นรายการสารเคมีที่ต้องใช้ในการวิจัย รวมทั้งอาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ด้วย

3.3 วิธีการทดลอง เป็นส่วนที่กล่าวถึงวิธีการดำเนินการวิจัย เช่น วิธีการวิเคราะห์ วิธีการเก็บตัวอย่าง หากเป็นวิธีที่มีผู้เสนอไว้แล้ว ให้อ้างอิงเอกสารที่ได้บรรยายถึงวิธีการนั้นๆ ด้วย

3.4 แผนการดำเนินงาน เป็นส่วนที่บอกถึงแผนการปฏิบัติการวิจัยทั้งโครงการตั้งแต่การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล การเขียนข้อเสนอโครงการ การทำการทดลอง การเขียนรายงาน โดยต้องเขียนเป็นตารางงานแต่ละข้อพร้อมระบุระยะเวลาที่ดำเนินการงานแต่ละข้อนั้น

เอกสารอ้างอิง :  แสดงรายการเอกสารต่างๆ ที่อ้างอิงถึงทั้งหมด โดยใช้รูปแบบการเขียนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

กำหนดการนำเสนอการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

กำหนดการนำเสนอการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ลำดับการนำเสนอ

ชื่อนักศึกษา

หน่วยงานที่ฝึก

1 นางสาวยุริตา สืบเหม ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง
นางสาวรัชนีกร สติภา
2 นางสาวซีตีฮาหยา ยีมิ่ง ภาคชีววิทยาและพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นางสาวณัติมา ขำเกิด
3 นางสาวอรอนงค์ แซ่ฮั้น ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ        ม.สงขลานครินทร์
นางสาวนูรมา มาสากี
4 นางสาวซารานิง เจ๊ะตือเง๊าะ สำนักงานวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืชกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
นางสาวซูรีซา เด็ง
5 นางสาววาสนา จำปาทอง ภาควิชาพืชศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
6 นางสาวจันทร์จิรา นาครอด มหาวิทยาลัยทักษิณ
นางสาวสุดารัตน์ ร่วมพันธ์
นางสาวสินีนาฏ เพ็งประพันธ์
7 นางสาวหัสยา จันทร์สีดำ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
นางสาวนอร์รีซา ปอ
8 นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรคงอ้น สถานวิจัยยาสมุนไพรและเทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชกรรม
นางสาวอรอนงค์ สุกใส
9 นางสาวเอมวิกา สุธานันต์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
นางสาวมลิษา แซ่ลิ้ม
นางสาวปรอยฝน บุตรจร
10 นางสาวมลิสา ด้วงเสน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา
11 นางสาวนูรียานี แวกาจิ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภูเก็ต
นางสาวแวซัยนาบ วอฮะ
นางสาวอัฐภรณ์ เจะสะเมาะ
12 นางสาวศุภนางค์ มีพร้อม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
นางสาววนิดา บุตดิพรรณ์
13 นางสาวอูลลีญา มามะ ห้องปฏิบัติการกลางสงขลา
14 นางสาวมากลือซง มะตง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี
นางสาวนูรฮายาตี ดาเอ๊ะ
15 นางสาววรวรรณ เปียชาติ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง
นางสาวศิริวรรณ ศรีสงคราม
16 นางสาวชาวดี เสียงหวาน สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา
17 นางสาวอาบีญา อาจสัน ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต
18 นางสาวสิเรียม พรหมสวัสดิ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งกระบี่
นางสาววรรณา บรรดา
19 นางสาวนาฏยา ศักดา สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
20 นางสาวยูรีดา หวังกูหลำ สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำจืด
นางสาวผกาทิพย์ สองหลง
21 นางสาวโสรยา สูดี ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง นราธิวาส
นางสาวสุไวบะห์ แนปิแน
22 นางสาวซีตีมารีแย มูซอ สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา
23 นางสาวเสาวลักษณ์ นวลละออง สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ
นางสาวบุษยานารถ คีรี
24 นางสาวอุมาพร สำเภาทอง ศูนย์บริหารศัตรูพืชสุราษฏร์ธานี
นางสาวปัทมวรรณ ปานเพชร
25 นายสัญพิชา มหานิล กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่ากรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช
นางสาวกิตติมา นวลแก้ว

 

* เริ่มลงทะเบียนตั้งแต่ 8:00-8:20 น. เริ่มนำเสนอตั้งแต่ 8:30 น.

โดยลำดับที่ 1-15 ให้นำเสนอในวันที่ 16 ก.ค. 57 และ 16- 25 ให้นำเสนอในวันที่ 17 ก.ค. 57

รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก

รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก

ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส. ครั้งที่ 1

นางสาว นัทติยา อินทร์ทอง
นาย พีระพงศ์ ย่องแก้ว
นาย เจษฎา บุญรักษา
นาย จิรวัฒน์ ปานซัง
นาย เกียรติกร คงเขียว
นางสาว จินตนารี ศรีสุข
นางสาว นันท์นภัส ดวงสุวรรณ
นางสาว ขวัญจิรา สุขวัสดิ์
นางสาว อาภาพร เรืองแดง
นางสาว อุทุมพร พวงงาม
นางสาว จุฑาทิพ แป้นกลาง
นางสาว รัตนากร ทวีเฉลิมดิษฐ์
นางสาว กุลธิดา แสงมณี
นางสาว วริษา ศานติโพธิ์วัฒน์
นางสาว ณิชารีย์ ชาวสมุทร
นางสาว สุภาพร หนูสีแก้ว
นาย โชคดี ขุนแก้ว
นางสาว อรทัย ชนะกาญจน์
นางสาว อรอุมา กว้างซ้วน
นางสาว เพลินพิศ อิสโร
นาย สานิวัฒน์ ชารัตน์
นางสาว ปิยมาศ เจริญศิริลักษณ์
นางสาว พัชรนันท์ แก้วมณี
นางสาว สุนิสา ศรีอ่อน
นางสาว สกาวรัตน์ ทองอินทร์
นางสาว ภณิชชา สุวรรณ์
นาย ณิชพน ศิวิ
นางสาว ณัฐฐินี ถั่วเถื่อน
นางสาว มารศรี แก้วลีเล็ด
นางสาว สุทธิดา พันธ์แสน
นาย ศุภชัย วิเชียรวงศ์

รายละเอียดโครงการ

รายละเอียดโครงการ

โครงการ “ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส.” (SRU Bio Summer Camp)

หลักการและเหตุผล

ชีววิทยาเป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญยิ่งต่อการเรียนรู้พื้นฐานและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยเฉพาะองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต การอาศัยในแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับแหล่งอาศัย โดยเป็นรากฐานสำคัญของการนำความรู้ไปใช้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน การเพิ่มพูนความรู้เหล่านี้ตลอดจนการฝึกทักษะปฏิบัติการพื้นฐานทั้งในห้องปฏิบัติการและภาคสนาม นอกจากจะเป็นการปลูกฝังเจตคติที่ดีแก่เยาวชนแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นให้เยาวชนมีความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วย

วัตถุประสงค์

1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดระบบสิ่งมีชีวิต และฝึกทักษะปฏิบัติการภาคสนามแก่นักเรียน

2) เพื่อปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อชีววิทยาและวิทยาศาสตร์พื้นฐานแก่นักเรียน

3) เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจและมีความรักและหวงแหนต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ

 

สาขาวิชาชีววิทยาจัดประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 (The 3rdUndergraduate Research Conference on Biology; URCB2014) ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาชีววิทยาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้มีเวทีการนำเสนอผลงานวิชาการ ตลอดจนเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัยระหว่างนักศึกษากับคณาจารย์

โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นประธานกล่าวเปิดงาน ในงานมีกิจกรรมทางวิชาการที่สำคัญคือการบรรยายพิเศษหัวข้อ “ชีวสารสนเทศและเทคนิคทางโมเลกุลสำหรับการพัฒนาวัคซีนโรคเลปโตสไปโรซีส” โดย อ.ดร.ศุภชัย นิติพันธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ตลอดจนการนำเสนอผลงานวิจัยหรือโครงงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งจากภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และจากมหาวิทยาลัยอื่นในเขตภาคใต้ ในแบบบรรยายและแบบโปสเตอร์

สาขาวิชาชีววิทยาจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4

สาขาวิชาชีววิทยาจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาชีววิทยา ก่อนการสำเร็จการศึกษา ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นการเสริมสร้างความเข้าใจ และให้ความรู้แก่นักศึกษา ตลอดจนการเตรียมตัวสำหรับการออกไปสู่การทำงาน

กำหนดการนำเสนอแบบบรรยาย

กำหนดการนำเสนอแบบบรรยาย

กำหนดการนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ 3  ณ ห้อง GA102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี วันที่ 10 มีนาคม 2557
ที่ เวลา เรื่อง ผู้นำเสนอ สถาบัน
1 10.20 น. สถานภาพของสัตว์ป่าในเส้นทางศึกษาธรรมชาติบางหมาน – ถ้ำลูกน้ำ – ทุ่งไข่ห่าน อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายสนิท พงศ์สุวรรณ และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต
2 10.40 น. ผลของอาหารและชิ้นส่วนพืชในการชักนำให้เกิดแคลลัสและยอดของทุเรียนเทศ อรอุษา อินวรรณะ และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
3 11.00 น. คุณสมบัติทางเคมีของข้าวพื้นเมืองภาคใต้พันธุ์ดอกพะยอม นูรีย๊ะ มิยะ และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
4 11.20 น. ผลของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ Xanthine oxidase ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเกาต์ (gout)

ปรียานุช เอียดสี

และจาตุรนต์ ทิพย์วงศ์

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี
5 11.40 น. การคัดแยกราเอนโดไฟต์ที่มีผลต่อการยับยั้งเชื้อก่อโรคพืชบางชนิดจากผักกูด ผักเหมียง และผักหวานบ้าน ชัยชนะ คงณรงค์ และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
6 13.00 น. ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของกาวยางธรรมชาติอีพอกไซด์ ศรวิตรี สังข์แก้ว และคณะ สาขาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
7 13.20 น. ความหลากหลายของไส้เดือนทะเลตำบลท่าทองใหม่ และตำบลตะเคียนทอง เขตอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี กัลยาณี ศรีสุข และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี
8 13.40 น. การบำบัดตะกั่วและแคดเมียมจากมลพิษทางอากาศโดยใช้ต้นเคราฤาษี (Tillandsis usenoides L.) ณัฐกานต์ รอคคืน และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
9 14.00 น. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวหอมไชยา

กาญจนา ทองมา

และคณะ

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
10 14.20 น. การวิเคราะห์พฤกษเภสัชวิทยาของสารประกอบฟีโนลิกส์รวม และสารต้านอนุมูลอิสระของกาแฟเขียวและใบชาเขียว เพื่อใช้ในเวชสำอาง

กนกวรรณ เทียมยม

และคณะ

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
11 14.40 น. ชนิดและการตายโดยอุบัติเหตุ (Road kill) ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กรรณิการ์ กระบิล และคณะ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
12 15.00 น. การศึกษาภูมิปัญญาการรักษาโรคผิวหนังของหมอพื้นบ้านในจังหวัดนครศรีธรรมราช อรุณกมล สุวรรณสิงห์ และคณะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
13 15.20 น. การแยกองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากรากของต้นราชดัด อมรรัตน์ มีดำ และปรินุช ชุมแก้ว คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

แบบแจ้งการชำระเงินค่าทัศนศึกษา

แบบแจ้งการชำระเงินค่าทัศนศึกษา

ผู้สนใจร่วมทัศนศึกษาฟาร์มหอยนางรม “สินมานะฟาร์มสเตย์” ชมการสาธิตการเลี้ยงหอยนางรม หอยแมลงภู่ และหอยแครง การเก็บเกี่ยวและการบริโภค พร้อมรับประทานอาหารกลางวัน ในวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ให้ชำระเงินค่าใช้จ่ายโดยโอนผ่านบัญชีธนาคารกรุงเทพ สาขาห้างโลตัสสุราษฎร์ธานี เลขที่ ๕๗๗-๐๑๘-๖๗๒๓ ชื่อบัญชีนายดอกรัก ชัยสาร จำนวน ๖๐๐ บาท แล้วแจ้งผลการชำระเงินตามแบบฟอร์มด้านล่างนี้ ภายในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๗
** หมายเหตุ หากจำนวนผู้ทัศนศึกษาไม่ถึง ๑๐ คน ให้รับเงินคืนที่โต๊ะลงทะเบียนหน้างาน
*จำเป็น
ชื่อ *
นามสกุล *
เบอร์โทรศัพท์ *
จำเป็นต้องตอบคำถามนี้
วันที่ชำระเงิน *
เวลาที่ชำระเงิน *

คุณสมบัติผู้สมัคร

คุณสมบัติผู้สมัคร

  1. เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้น ม.4 – ม. 6 ในปีการศึกษา 2557 สังกัดโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี หากสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้วจะต้องไม่เกิน 6 เดือน
  2. เป็นผู้มีใจรักสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
  3. อายุไม่เกิน 2๐ ปี

ขอเชิญนักเรียนเข้าร่วมโครงการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อนครั้งที่ 1

ขอเชิญ นักเรียนเข้าร่วมโครงการค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อนครั้งที่ 1

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอเชิญน้องๆ นักเรียนที่กำลังเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมโครงการ “ค่ายชีววิทยาภาคฤดูร้อน มรส.” (SRU Bio Summer Camp) ครั้งที่ 1 ตอน “ขุนเขาและธารา” ระหว่างวันที่ 7-9 พฤษภาคม 2557 ณสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

พบกับกิจกรรมแสนสนุกที่สอดแทรกด้วยความรู้และเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต การจัดระบบสิ่งมีชีวิต ตลอดจนกิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติ ฯลฯ รับจำนวนจำกัดเพียง 40 คนเท่านั้น โดยต้องเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เรียนสายวิทย์ฯ หรือสายศิลป์ฯ และที่สำคัญขอแค่มีใจรักสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติก็เข้าร่วมค่ายได้ สนใจติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://biology.sci.sru.ac.th/sru-bio-summer-camp/camp-2014/ หรือเพจ facebook.com/SruBioSummerCamp

  • รับสมัครออนไลน์ทางเว็บไซต์ระหว่างวันที่ 1-20 เมษายน 2557
  • ประกาศผลการคัดเลือกวันที่ 25เมษายน 2557
  • พิเศษ !! ฟรีค่าใช้จ่ายทุกรายการ สมัครด่วนรับจำนวนจำกัด

ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี

ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรี

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ขอเชิญนิสิต นักศึกษา และอาจารย์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา ครั้งที่ ๓ ประจำปี 2557 (The 3rd Undergraduate Research Conference on Biology : URCB 2014) ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2557 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 8๐ พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

โดยโครงการดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อเป็นเวทีให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้นำเสนอผลงานวิจัย ปัญหาพิเศษ หรือโครงงาน และเป็นการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการวิจัยระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการวิจัย

ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://biology.sci.sru.ac.th/urcb/urcb-2014/ พิเศษสำหรับนักศึกษาทุกสถาบันฟรีค่าลงทะเบียน

กำหนดการการประชุม

กำหนดการการประชุม

10 มีนาคม 2557
๐8.๐๐-๐8.3๐ น. ลงทะเบียน ณ ห้อง GA102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 8๐ พรรษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

ชมวีดิทัศน์แนะนำมหาวิทยาลัย

๐8.3๐-๐9.๐๐ น.

พิธีเปิด ณ ห้อง GA102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 8๐ พรรษา

– ผศ.สมพร โตใจ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวรายงาน

– ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กล่าวเปิดงาน

๐9.๐๐-1๐.๐๐ น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ชีวสารสนเทศและเทคนิคทางโมเลกุลสำหรับการพัฒนาวัคซีนโรคเลปโตสไปโรซีส” (Bioinformatics and Molecular Technique for Leptospirosis Vaccine Development) โดย อ.ดร.ศุภชัย นิติพันธ์ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
1๐.๐๐-1๐.2๐ น. พักทานอาหารว่าง
1๐.2๐-12.๐๐ น. การนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย ณ ห้อง GA102
12.๐๐-13.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.๐๐-15.2๐ น. การนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย ณ ห้อง GA102
15.2๐-15.5๐ น. การนำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ ณ บริเวณโถง ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 8๐ พรรษา
15.5๐-16.๐๐ น. มอบรางวัลการนำเสนอผลการวิจัยยอดเยี่ยม ณ ห้อง GA102
16.๐๐-16.3๐ น. ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัย
11 มีนาคม 2557
๐9.๐๐-13.๐๐ น. **ทัศนศึกษาฟาร์มหอยนางรม “สินมานะฟาร์มสเตย์” ชมการสาธิตการเลี้ยงหอยนางรม หอยแมลงภู่ และหอยแครง การเก็บเกี่ยวและการบริโภค พร้อมรับประทานอาหารกลางวัน

**ผู้เข้าการร่วมประชุมที่สนใจเข้าร่วมการทัศนศึกษา สามารถแจ้งความประสงค์ในการขั้นตอนการลงทะเบียนเข้าร่วมงาน (ไม่เกินวันที่ 5 มีนาคม 2557) พร้อมโอนเงินค่าใช้จ่ายท่านละ 6๐๐ บาท